Home Grammar Page 10

Grammar

แกรมม่าภาษาอังกฤษ ฝึกและทบทวน Grammar ด้วยบทเรียนที่ออกแบบมาแล้วให้สามารถเข้าใจง่ายที่สุด ไม่ต้องพึ่งหนังสืออีกต่อไป ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างประโยค หรือการตรวจสอบความถูกต้องของประโยค

อย่าลืมคู่ขาของนาม มันคือ เวิร์บ (V)

0
ในบทแรกนั้น ครูได้สอนให้น้องๆเข้าใจแล้วว่า เวิร์บ หรือ V ก็คือ ‘คำกริยา’ นั่นเอง แต่เรื่องของ V นั้นมันช่างลึกล้ำเกินกว่าจะบรรยายได้จบในบทเดียว ดังนั้น เรามาค่อยๆ เจาะลึกเรื่องของ V กันทีละขั้น ทีละตอน จนกว่าจะครบตามหลักสูตรที่ควรรู้ไว้กันดีกว่า อาจฟังดูสยิวกิ้ว ยังไงพิกล กับการเปรียบเปรยคำนามกับคำกริยา เป็นดั่งชายรักชาย แต่มันก็เป็นวิธีบรรยายอย่างตรงตัวที่สุดแล้ว เพราะว่า  ที่ใดมี 'นาม'(N)...

‘ขั้นกว่า’ และ ‘ขั้นสุด’

0
นอกจากการขยายคำนามด้วยการเติมคำเข้าไปข้างหน้านามนั้นๆ แล้ว หากเราเติมปัจจัย er, est ต่อท้ายเข้าไป ยังทำให้คำขยายนั้นๆ กลายเป็น ‘ขั้นกว่า’ และ ‘ขั้นสุด’ ได้ตามลำดับด้วย .... ส่วนคำขยายนามบางคำ ต้องใช้คำว่า more (มากกว่า) และ the most (มากที่สุด) เพื่อแสดงขั้นกว่าและขั้นสุด เช่น More beautiful (สวยกว่า) หรือ...

แปลงคำศัพท์ให้เป็น Adjective

0
มาว่ากันต่อเกี่ยวกับเรื่องของ Adj. ในบทความก่อนหน้า ครูลืมบอกไปว่า เราสามารถใช้ Adj. ขยายได้ทั้ง noun และ pron. เลยนะคร๊าบ เช่น             - a big house                    - a kind man             - a strong case                  - a...

ADJECTIVE อยากอินดี้ ลองใส่แอ็ดเจ (Adj)

0
เรามาเรียนรู้เรื่องที่เกี่ยวข้องกับคำนามกันอีกเรื่องหนึ่ง นั่นก็คือเรื่องของ Adjective (ย่อสั้นๆว่า Adj. หรือ adj. ก็ได้)  Adj. คือ คำที่เอาไว้ใช้ขยายคำนามนั่นเอง ทั้งนี้ ก่อนที่จะเริ่มไปทำความรู้จักกับคำขยายนาม น้องๆลองถามตัวเองดูก่อนว่า 'ทำไมนามต้องมีคำขยายนาม?' คำตอบ คือ ‘Add’ แปลว่า ‘ต่อเติม’ เมื่อเอาไปผสมคำอื่น ก็ตัด d ออกตัวนึง ดังนั้น  Adjective หรือ...

การแสดงความเป็นเจ้าของ (’s)

0
การแสดงความเป็นเจ้าของๆคำนาม เราสามารถใช้เครื่องหมาย (’s) หรือเรียกว่า อะโพสโทรฟี เอ็ส (Apostrophe s) นั่นเอง  ตัวอย่างเช่น  This is Somchai’s car. นี่คือรถของสมชาย That is this girl’s doll. นั่นคือตุ๊กตาของเด็กหญิงคนนี้ อย่างไรก็ตาม หากมีการกล่าวถึงสิ่งเดียวกันของคน 2 คน หรือ 2 ฝ่ายในประโยคเดียวกัน...

คำนามที่น่ารู้ 2 ประเภท

0
(Common&Proper) เรามาต่อเรื่องของคำนามกันเลยดีกว่าครับ เนื้อหาอาจจะดูเยอะ แต่เชื่อเถอะว่า ครูย่อให้สั้นและเข้าใจได้ง่ายแบบสุดขีดแล้ว.. นี่ยังไม่ได้พูดถึงคำนามประเภทนามธรรมหรือนามที่จับต้องไม่ได้ เช่น คำว่า Art (ศิลปะ) หรือ Peace (ความสงบสุข) นะครับ เพราะถึงแม้จะท่องจำได้ว่า มันเป็นคำนามประเภทนี้ ก็แทบจะไม่มีประโยชน์ในเชิงปฏิบัติ นอกเหนือไปจากการทำข้อสอบแค่ไม่กี่ข้อในมหา'ลัย!  เปรียบเสมือนเรื่องของแคลคูลัสหรือตรีโกณมิติในวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งนักเรียนต่างเคยเรียนกันมาเป็นสิบล้านคน แต่จบมาได้ใช้ในชีวิตจริงเพียงไม่ถึงร้อยคนเท่านั้น เอาล่ะ....ว่าแต่ คำนามอีก 2 ประเภท ที่ควรรู้ไว้ มีอะไรบ้างล่ะ? จะมีก็เพียง…... .... Common N....

นิยามของ คำนาม ภาค 2

0
ในบทก่อนหน้านี้ ครูได้เปรียบเทียบให้เห็นภาพแล้วว่า…. คำนาม ก็เปรียบเสมือนผู้เล่นฟุตบอลในสนาม (แห่งภาษาอังกฤษ) ซึ่งมีคุณสมบัติอันหลากหลายคล้ายกันทุกคน แต่ก็ยังมีการแบ่งประเภทผู้เล่นแต่ละคนตามคุณลักษณะหรือตำแหน่งที่พวกเขาเล่นกัน  ถ้าใครยังไม่ได้อ่านบทที่แล้ว หรืออ่านแล้วลืม ก็คลิ๊กกลับไปอ่านทบทวนอีกรอบได้ครับ...ไม่เป็นไรครับ ครูไม่โกรธ...คริ คริ ในบทนี้ ก่อนที่จะเริ่มไปทำความรู้จักกับผู้เล่น (คำนาม) แต่ละประเภท ลองขุดคุ้ยความทรงจำดูก่อนว่า เท่าที่พี่ๆน้องๆจำได้ในสมัยเรียนนั้น ‘คำนามมีประเภทใดบ้าง?' .... พอจะนึกถึงประเภทของคำนามขึ้นมาสักหนึ่งประเภท ตอนนี้เลยได้ไหมครับ?  ถ้านึกไม่ออก ก็ไม่เป็นไร แต่ครูและคณะฯทีมงาน ต่างก็ลงมติเป็นเอกฉันท์แล้วว่า เราจะเน้นถ่ายทอดเรื่องของคำนามกันเพียง 3-4 ประเภทเท่านั้น ซึ่งก็เพียงพอที่จะช่วยให้พี่ๆน้องๆสอบผ่านหรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้แล้ว! .... ส่วนคำนามประเภทอื่นๆที่เหลือนั้น...

นิยามของ คำนาม ภาค 1

0
คำนำหน้านาม มันจะตามด้วยอะไรล่ะ ถ้าไม่ใช่นาม?  หลังจากบรรลุหลักสูตรเรื่องคำนำหน้านามกันไปแล้ว เราเขยิบมาดูกันต่อเลยว่า คำนามคืออะไรและมีแบบไหนที่จำเป็นต้องรู้บ้าง... ก่อนอื่น เรามาดูตัวอย่างคำต่อไปนี้  เบลล่า, เจมส์ จิรายุ, ศตวีย์, รัฐบาล, ประเทศไทย, ดวงดาว, ขนมปัง, เทศกาลลอยกระทง, ปลากะพง, เซ็นทรัลเวิรลด์, ดอกไม้, สายลม, เส้นผม, สุนัข, ห่อหมก, จิ้งจก, ลุง, ป้า,...

คำนำหน้านาม (Article) 3

0
ในตอนสุดท้ายของเรื่อง 'คำนำหน้านาม' นี้ เราจะพูดถึงคำที่มักเจอและใช้กันบ่อยๆในภาษาอังกฤษ นั่นก็คือ 4 คำต่อไปนี้           this, that, those, these เอาล่ะ! เรามาเริ่มรู้จักวิธีใช้คำนำหน้านามเหล่านี้กันให้มากขึ้นเลยดีกว่า.... คำนำหน้านามกลุ่มนี้ ใช้ระบุไปเลยว่า นามที่เราพูดถึง มันอยู่ ณ ตำแหน่งใด โดย this, these จะพูดถึงนามที่อยู่ใกล้ตัวเรา ส่วน that, those ใช้พูดถึงนามที่อยู่ห่างจากตัวเรา  ทั้งนี้...

คำนำหน้านาม (Article) 2

0
เรามาว่ากันต่อถึงเรื่องของคำนำหน้านามนะครับ แบ่งออกเป็น 3 ตอนแบบนี้ พี่ๆน้องๆจะได้เรียนรู้กันแบบชิลๆ ซึ่งจะช่วยให้ค่อยๆรู้สึกชอบภาษาอังกฤษมากขึ้นทีละนิดๆ ธีมของคำนำหน้านาม เปรียบไปก็คล้ายๆกับ กรรมการหรือผู้กำกับเส้นของกีฬาฟุตบอลในนัดหนึ่งๆ ซึ่งจำเป็นต้องมีอยู่เพื่อกำกับดูแลความถูกต้องเรียบร้อย (ถึงแม้จะไม่ค่อยมีใครเห็นหัวพวกเขาก็ตาม) ในตอนที่แล้ว ทุกคนคงได้ทำความรู้จักกับกรรมการเหล่านั้นกันไปพอสมควร โดยเริ่มจาก a, an, the อันถือเป็นจุดเริ่มต้นของประโยคภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ ดังนั้น ลองวอร์มอัพถามตัวเองดูก่อนว่า เท่าที่พี่ๆน้องๆพอจะจำได้นั้น‘คำนำหน้านาม’ คืออะไร? เอาไว้ทำอะไร?  "ยังมีใครไม่รู้จัก ‘เอ, แอนด์, เดอะ’...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า